ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
Moderator: Olea
-
- โพสต์: 5
- ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ เม.ย. 19, 2020 12:40 pm
Re: ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
ขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำ
หมายความว่าลูกที่ปั๊ม RTA ควรหลีกเลี่ยงใช่ไหมครับ
จะได้มีวิธีสังเกตุสำหรับมือใหม่ไรเฟิลชนวนกลาง
หมายความว่าลูกที่ปั๊ม RTA ควรหลีกเลี่ยงใช่ไหมครับ
จะได้มีวิธีสังเกตุสำหรับมือใหม่ไรเฟิลชนวนกลาง
- Papa Sierra มัฆวาน
- โพสต์: 16
- ลงทะเบียนเมื่อ: ศุกร์ พ.ค. 08, 2020 7:59 am
Re: ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
ลูกทหาร ตามที่บอก ผลิตหลักๆสองที่ เป็นของต้องห้ามทั้งสองที่ มีปั๊ม RTA เป็นบางล็อต เพียงแหล่งเดียว ที่เหลือส่วนใหญ่ปั๊มแบบอื่นแต่ตรวจแล้วรู้ทันทีว่าเป็นของทหารครับMojo_Powered เขียน: ↑ศุกร์ พ.ค. 08, 2020 3:53 pmขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำ
หมายความว่าลูกที่ปั๊ม RTA ควรหลีกเลี่ยงใช่ไหมครับ
จะได้มีวิธีสังเกตุสำหรับมือใหม่ไรเฟิลชนวนกลาง
ดังนั้นที่ท่านว่ามาถูกแค่เสี้ยวเดียว เต็มๆคือ กระสุนอะไรที่มาแบบไม่ชอบมาพากลก็ไม่ควรไปยุ่งครับ
และถ้้าเป็นสมัยก่อนก็จะมีคนมาสนทนาต่ออีกว่า จะกลัวอะไรนักหนา บลาๆๆๆ
เรื่องใช่หรือไม่ใช่อย่างไร ทุกคนรับผิดชอบตัวเองเอาเถิดครับ
=============================================================
ขอบคุณที่มาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ด้วยความเคารพทุกท่าน
=============================================================

ขอบคุณที่มาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ด้วยความเคารพทุกท่าน
=============================================================
-
- โพสต์: 3
- ลงทะเบียนเมื่อ: เสาร์ พ.ค. 09, 2020 5:35 pm
Re: ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
รบกวนสอบถามความเห็นของพี่ [email protected] และสมาชิกท่านอื่นหน่อยครับ เมื่อก่อนกรณีมีกระสุน 5.56 พิสูจน์หลักฐานมักจะรายงานผลตรวจมาสั้นๆ ว่าเป็นกระสุนปืนกลที่ไม่สามารถออกใบอนุญาตให้ได้ โดยไม่ได้ระบุมาให้ชัดเจนว่าเป็นกระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิง ทำให้ต้องสั่งให้ตรวจสอบเพิ่มเติมทุกครั้งซึ่งก็ต้องตอบมาว่าไม่ใช่กระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิง (แน่นอนอยู่แล้ว) ทำให้อัยการต้องสั่งไม่ฟ้องหรือศาลพิพากษายกฟ้องข้อหามีกระสุนปืนที่นายทะเบียนออกใบอนุญาตให้ไม่ได้ ซึ่งเป็นไปตามแนวฎีกาที่เคยตัดสินไว้ก่อนหน้านี้ที่ว่าแม้จะเป็นกระสุนปืนกลแต่เมื่อไม่ใช่กระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิงก็ไม่ใช่กระสุนที่นายทะเบียนไม่สามารถออกใบอนุญาตให้ได้ (สรุปคือถือว่าเป็นกระสุนธรรมดานั่นเอง)[email protected] เขียน: ↑พฤหัสฯ. พ.ค. 07, 2020 12:02 pmกระทู้นี้ หมายถึ่ง คอปืนที่ มีป.4 ระบุให้ครอบครอง อาาุธปืนเดี่ยวไรเฟิล ขนาด .223 นิ้ว/5.56 มม.Mojo_Powered เขียน: ↑พุธ พ.ค. 06, 2020 12:23 pmสมมุติ .308/7.62 มีระบุในป.4แล้ว แล้วมี7.62ในครอบครอง ถือเป็นยุทธภัณฑ์ปะครับ
และ ป.4 เดี่ยวไรเฟิล ขนาด .308 นิ้ว/7.62 นาโต้
RTA. Royal Thai Army. กระสุน ที่มีอักษร RTA. ป็นกระสุนที่ใช้ในราชการทหารไทย
ไม่ได้ขายหรือจำหน่ายให้กับประชาชน จึงเป็นทรัพย์สินของทางราชการทหาร
ผู้ใดครอบครอง กระสุนท้้งนัด หรือแม้เพียงปลอกกระสุน ก็อาจจะมีความผิด
ฐานลักทรัพย์ของทางราชการ หรือรับของโจร
นอกจากกระสุนขนาดข้างต้น และยังมีกระสุนต้องห่ามครอบครอง คือกระสุนเพลิง(ไม่ทราบว่ามีลักษณะอย่างใด แต่กระสุนส่องวิถีไม่ใช่กระสุนเพลิง) และกระสุนเจาะเกราะ (มีลักษณะเฉพาะ หัวกระสุนทาสีดำไส้แกนกลาง เป็นโลหะทังสเตน ที่แข็งกว่าเหล็ก) เท่าที่ทราบจะมีแต่ขนาด 7 มม.ขึ้นไป และใช้ในบางหน่วยทหารเท่านั้น
กระสุนเจาะเกราะ น่าจะหมายเกราะทางการทหาร ที่กรุให้กับรถเกราะกันกระสุน รถถัง ไม่ใช่เกราะอ่อน ที่ทนหัวกระสุน ไรเฟิล .223 และ .308 ได้ในระดับต้น ๆ ได้เท่านั้น
ทั้งกระสุนเพลิง กระสุนเจาะเกราะ จักต้องใช้ผู้ชำนาญการด้านกระสุน จากกองทัพบกไทย มายืนยันเป็นพยานในการพิจารณาคดี ไม่ใช่เจ้าพนักงานตำรวจ เพราะไม่ใช่ผู้มีอำนาจใช้กระสุน ทั้ง 2 ชนิดนี้ ถ้าไม่มีพยานของกองทัพบกไทย และจำเลยยืนยันให้การปฎิเสธ อาจจะเกิดข้อสงสัยในข้อเท็จจริงที่ได้จากการพิจารณา ว่าโจทก์นำสืบไม่ได้ตามคำฟ้อง ศาลอาจต้องยกประโยชน์ในข้อสงสัยนี้ให้กับจำเลย ครับ.
แต่มาในช่วงหลัง (น่าจะจากกรณีปัญหาที่ศาลวินิจฉัยไม่ใช่กระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ดังกล่าวข้างต้น) ทางพิสูจน์หลักฐานเลยแก้ลำด้วยการระบุ
มาในผลตรวจพิสูจน์เลยว่าไม่ใช่กระสุนเพลิงหรือกระสุนเจาะเกราะแต่เป็นกระสุนปืนกลตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 จึงเป็นกระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้
ได้เช่นกัน โดยทางพิสูจน์หลักฐานระบุมาในรายงานผลตรวจพิสูจน์ว่ากระสุน 5.56 ( ไม่ใช่กระสุน .223 ) เป็นกระสุนที่ผลิตมาเพื่อใช้กับปืนกลโดยเฉพาะ ( กรณีที่เป็นปัญหาอาจจะเพราะกระสุนปืนของกลางตีตรา RTA ด้วย ) แต่โดยส่วนตัวผมเห็นว่าไม่น่าจะถูกต้องเพราะกระสุนเมื่อผลิตออกมาแล้วก็ใช้ยิงได้กับทั้งปืนกลและปืนธรรมดา และปืนไรเฟิลระบบลูกเลื่อนบางกระบอกก็สามารถใช้ยิงได้ทั้งลูก 5.56 และ .223 หรือกระทั่งปืนขนาด .223 เองก็สามารถยิงลูก 5.56 ได้ (แม้จะไม่ค่อยดีกับปืนเท่าไหร่)ซึ่งโดยส่วนตัวของผมเห็นว่าการตีความแบบนี้เป็นการตีความในสิ่งที่ยังไม่ชัดเจนให้เป็นโทษกับผู้ต้องหา ทำให้น่าคิดว่าในอนาคตหากเป็นการครอบครองกระสุน
5.56 ที่ไม่ใช่กระสุนที่ตีตรา RTA ซึ่งกระสุนขนาดนี้ไม่ใช่กระสุนต้องห้ามตามกฎกระทรวงฉบับที่ 11 และตัวผู้ครอบครองกระสุนเองมีปืนไรเฟิลลูกเลื่อนขนาด .223
จะเป็นความผิดฐานมีกระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกไปใบอนุญาตได้หรือไม่
กรณีการครอบครองกระสุนที่ตีตรา RTA ยังไงก็เป็นความผิดฐานอื่นต่างหากอยู่ก็ต้องว่ากันต่างหากต่อไป
ไม่ทราบว่าพี่ [email protected] และสมาชิกท่านอื่นมีความคิดเห็นอย่างไรบ้างครับ
-
- โพสต์: 297
- ลงทะเบียนเมื่อ: พฤหัสฯ. เม.ย. 16, 2020 11:50 am
Re: ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
ความรู้ทั้งนั้น
ปูเสื่อนั่งหน้ารอ ผู้มีควาามรู้เข้ามาเสวนา
ปูเสื่อนั่งหน้ารอ ผู้มีควาามรู้เข้ามาเสวนา
- a lone wolf
- โพสต์: 69
- ลงทะเบียนเมื่อ: ศุกร์ เม.ย. 17, 2020 12:32 pm
Re: ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
โดยตรรกกะน่าจะตีความตามที่ตำรวจผู้จับกุมว่าไว้ไม่ได้นะครับYoshiki_Silencer เขียน: ↑เสาร์ พ.ค. 09, 2020 6:05 pmรบกวนสอบถามความเห็นของพี่ [email protected] และสมาชิกท่านอื่นหน่อยครับ เมื่อก่อนกรณีมีกระสุน 5.56 พิสูจน์หลักฐานมักจะรายงานผลตรวจมาสั้นๆ ว่าเป็นกระสุนปืนกลที่ไม่สามารถออกใบอนุญาตให้ได้ โดยไม่ได้ระบุมาให้ชัดเจนว่าเป็นกระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิง ทำให้ต้องสั่งให้ตรวจสอบเพิ่มเติมทุกครั้งซึ่งก็ต้องตอบมาว่าไม่ใช่กระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิง (แน่นอนอยู่แล้ว) ทำให้อัยการต้องสั่งไม่ฟ้องหรือศาลพิพากษายกฟ้องข้อหามีกระสุนปืนที่นายทะเบียนออกใบอนุญาตให้ไม่ได้ ซึ่งเป็นไปตามแนวฎีกาที่เคยตัดสินไว้ก่อนหน้านี้ที่ว่าแม้จะเป็นกระสุนปืนกลแต่เมื่อไม่ใช่กระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิงก็ไม่ใช่กระสุนที่นายทะเบียนไม่สามารถออกใบอนุญาตให้ได้ (สรุปคือถือว่าเป็นกระสุนธรรมดานั่นเอง)[email protected] เขียน: ↑พฤหัสฯ. พ.ค. 07, 2020 12:02 pmกระทู้นี้ หมายถึ่ง คอปืนที่ มีป.4 ระบุให้ครอบครอง อาาุธปืนเดี่ยวไรเฟิล ขนาด .223 นิ้ว/5.56 มม.Mojo_Powered เขียน: ↑พุธ พ.ค. 06, 2020 12:23 pmสมมุติ .308/7.62 มีระบุในป.4แล้ว แล้วมี7.62ในครอบครอง ถือเป็นยุทธภัณฑ์ปะครับ
และ ป.4 เดี่ยวไรเฟิล ขนาด .308 นิ้ว/7.62 นาโต้
RTA. Royal Thai Army. กระสุน ที่มีอักษร RTA. ป็นกระสุนที่ใช้ในราชการทหารไทย
ไม่ได้ขายหรือจำหน่ายให้กับประชาชน จึงเป็นทรัพย์สินของทางราชการทหาร
ผู้ใดครอบครอง กระสุนท้้งนัด หรือแม้เพียงปลอกกระสุน ก็อาจจะมีความผิด
ฐานลักทรัพย์ของทางราชการ หรือรับของโจร
นอกจากกระสุนขนาดข้างต้น และยังมีกระสุนต้องห่ามครอบครอง คือกระสุนเพลิง(ไม่ทราบว่ามีลักษณะอย่างใด แต่กระสุนส่องวิถีไม่ใช่กระสุนเพลิง) และกระสุนเจาะเกราะ (มีลักษณะเฉพาะ หัวกระสุนทาสีดำไส้แกนกลาง เป็นโลหะทังสเตน ที่แข็งกว่าเหล็ก) เท่าที่ทราบจะมีแต่ขนาด 7 มม.ขึ้นไป และใช้ในบางหน่วยทหารเท่านั้น
กระสุนเจาะเกราะ น่าจะหมายเกราะทางการทหาร ที่กรุให้กับรถเกราะกันกระสุน รถถัง ไม่ใช่เกราะอ่อน ที่ทนหัวกระสุน ไรเฟิล .223 และ .308 ได้ในระดับต้น ๆ ได้เท่านั้น
ทั้งกระสุนเพลิง กระสุนเจาะเกราะ จักต้องใช้ผู้ชำนาญการด้านกระสุน จากกองทัพบกไทย มายืนยันเป็นพยานในการพิจารณาคดี ไม่ใช่เจ้าพนักงานตำรวจ เพราะไม่ใช่ผู้มีอำนาจใช้กระสุน ทั้ง 2 ชนิดนี้ ถ้าไม่มีพยานของกองทัพบกไทย และจำเลยยืนยันให้การปฎิเสธ อาจจะเกิดข้อสงสัยในข้อเท็จจริงที่ได้จากการพิจารณา ว่าโจทก์นำสืบไม่ได้ตามคำฟ้อง ศาลอาจต้องยกประโยชน์ในข้อสงสัยนี้ให้กับจำเลย ครับ.
แต่มาในช่วงหลัง (น่าจะจากกรณีปัญหาที่ศาลวินิจฉัยไม่ใช่กระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ดังกล่าวข้างต้น) ทางพิสูจน์หลักฐานเลยแก้ลำด้วยการระบุ
มาในผลตรวจพิสูจน์เลยว่าไม่ใช่กระสุนเพลิงหรือกระสุนเจาะเกราะแต่เป็นกระสุนปืนกลตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 จึงเป็นกระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้
ได้เช่นกัน โดยทางพิสูจน์หลักฐานระบุมาในรายงานผลตรวจพิสูจน์ว่ากระสุน 5.56 ( ไม่ใช่กระสุน .223 ) เป็นกระสุนที่ผลิตมาเพื่อใช้กับปืนกลโดยเฉพาะ ( กรณีที่เป็นปัญหาอาจจะเพราะกระสุนปืนของกลางตีตรา RTA ด้วย ) แต่โดยส่วนตัวผมเห็นว่าไม่น่าจะถูกต้องเพราะกระสุนเมื่อผลิตออกมาแล้วก็ใช้ยิงได้กับทั้งปืนกลและปืนธรรมดา และปืนไรเฟิลระบบลูกเลื่อนบางกระบอกก็สามารถใช้ยิงได้ทั้งลูก 5.56 และ .223 หรือกระทั่งปืนขนาด .223 เองก็สามารถยิงลูก 5.56 ได้ (แม้จะไม่ค่อยดีกับปืนเท่าไหร่)ซึ่งโดยส่วนตัวของผมเห็นว่าการตีความแบบนี้เป็นการตีความในสิ่งที่ยังไม่ชัดเจนให้เป็นโทษกับผู้ต้องหา ทำให้น่าคิดว่าในอนาคตหากเป็นการครอบครองกระสุน
5.56 ที่ไม่ใช่กระสุนที่ตีตรา RTA ซึ่งกระสุนขนาดนี้ไม่ใช่กระสุนต้องห้ามตามกฎกระทรวงฉบับที่ 11 และตัวผู้ครอบครองกระสุนเองมีปืนไรเฟิลลูกเลื่อนขนาด .223
จะเป็นความผิดฐานมีกระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกไปใบอนุญาตได้หรือไม่
กรณีการครอบครองกระสุนที่ตีตรา RTA ยังไงก็เป็นความผิดฐานอื่นต่างหากอยู่ก็ต้องว่ากันต่างหากต่อไป
ไม่ทราบว่าพี่ [email protected] และสมาชิกท่านอื่นมีความคิดเห็นอย่างไรบ้างครับ
5.56 ใช้กับปืนกล
ผู้ถือใบอนุญาต .223 จึงมีไม่ได้เนี่ย
ปืนกลมืออูซี่ มีใช้ทั้ง 9 มม., .45 และแม้กระทั่ง .22 LR ด้วย conversion kit
ถ้าใช้โลจิกว่า กระสุนใช้กับปืนกล มีไม่ได้ คงเละเทะน่ะครับ
เจตนารมย์ กฎกระทรวงฉบับที่ 11 น่ะ
เขาห้ามที่ตัวปืนว่าคนธรรมดาครอบครองปืนที่มีกลไกแบบปืนกลไม่ได้ เกินความจำเป็นในการป้องกันชีวิตและทรัพย์สิน
ไม่ใช่ห้ามกระสุนปืนกล
ตัวกระสุน ก็ห้ามกระสุนเพลิง และกระสุนเจาะเกราะ เพราะเกินความจำเป็นของพลเรือน
ความดีงามมีอยู่จริง
และคนที่เชื่อล้วนไม่ลังเลที่จะลุกขึ้นค้ำจุน
และคนที่เชื่อล้วนไม่ลังเลที่จะลุกขึ้นค้ำจุน
- vachy
- โพสต์: 37
- ลงทะเบียนเมื่อ: เสาร์ เม.ย. 18, 2020 6:14 am
Re: ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
ขอบพระคุณครับ ท่าน [email protected][email protected] เขียน: ↑พฤหัสฯ. พ.ค. 07, 2020 12:02 pmกระทู้นี้ หมายถึ่ง คอปืนที่ มีป.4 ระบุให้ครอบครอง อาาุธปืนเดี่ยวไรเฟิล ขนาด .223 นิ้ว/5.56 มม.Mojo_Powered เขียน: ↑พุธ พ.ค. 06, 2020 12:23 pmสมมุติ .308/7.62 มีระบุในป.4แล้ว แล้วมี7.62ในครอบครอง ถือเป็นยุทธภัณฑ์ปะครับ
และ ป.4 เดี่ยวไรเฟิล ขนาด .308 นิ้ว/7.62 นาโต้
RTA. Royal Thai Army. กระสุน ที่มีอักษร RTA. ป็นกระสุนที่ใช้ในราชการทหารไทย
ไม่ได้ขายหรือจำหน่ายให้กับประชาชน จึงเป็นทรัพย์สินของทางราชการทหาร
ผู้ใดครอบครอง กระสุนท้้งนัด หรือแม้เพียงปลอกกระสุน ก็อาจจะมีความผิด
ฐานลักทรัพย์ของทางราชการ หรือรับของโจร
นอกจากกระสุนขนาดข้างต้น และยังมีกระสุนต้องห่ามครอบครอง คือกระสุนเพลิง(ไม่ทราบว่ามีลักษณะอย่างใด แต่กระสุนส่องวิถีไม่ใช่กระสุนเพลิง) และกระสุนเจาะเกราะ (มีลักษณะเฉพาะ หัวกระสุนทาสีดำไส้แกนกลาง เป็นโลหะทังสเตน ที่แข็งกว่าเหล็ก) เท่าที่ทราบจะมีแต่ขนาด 7 มม.ขึ้นไป และใช้ในบางหน่วยทหารเท่านั้น
กระสุนเจาะเกราะ น่าจะหมายเกราะทางการทหาร ที่กรุให้กับรถเกราะกันกระสุน รถถัง ไม่ใช่เกราะอ่อน ที่ทนหัวกระสุน ไรเฟิล .223 และ .308 ได้ในระดับต้น ๆ ได้เท่านั้น
ทั้งกระสุนเพลิง กระสุนเจาะเกราะ จักต้องใช้ผู้ชำนาญการด้านกระสุน จากกองทัพบกไทย มายืนยันเป็นพยานในการพิจารณาคดี ไม่ใช่เจ้าพนักงานตำรวจ เพราะไม่ใช่ผู้มีอำนาจใช้กระสุน ทั้ง 2 ชนิดนี้ ถ้าไม่มีพยานของกองทัพบกไทย และจำเลยยืนยันให้การปฎิเสธ อาจจะเกิดข้อสงสัยในข้อเท็จจริงที่ได้จากการพิจารณา ว่าโจทก์นำสืบไม่ได้ตามคำฟ้อง ศาลอาจต้องยกประโยชน์ในข้อสงสัยนี้ให้กับจำเลย ครับ.
ขอบคุณครับ




-
- โพสต์: 32
- ลงทะเบียนเมื่อ: พฤหัสฯ. เม.ย. 16, 2020 5:53 pm
Re: ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
กระทู้มีประโยชน์ ข้อมูลดีมากครับ[email protected] เขียน: ↑พฤหัสฯ. พ.ค. 07, 2020 12:02 pmกระทู้นี้ หมายถึ่ง คอปืนที่ มีป.4 ระบุให้ครอบครอง อาาุธปืนเดี่ยวไรเฟิล ขนาด .223 นิ้ว/5.56 มม.Mojo_Powered เขียน: ↑พุธ พ.ค. 06, 2020 12:23 pmสมมุติ .308/7.62 มีระบุในป.4แล้ว แล้วมี7.62ในครอบครอง ถือเป็นยุทธภัณฑ์ปะครับ
และ ป.4 เดี่ยวไรเฟิล ขนาด .308 นิ้ว/7.62 นาโต้
RTA. Royal Thai Army. กระสุน ที่มีอักษร RTA. ป็นกระสุนที่ใช้ในราชการทหารไทย
ไม่ได้ขายหรือจำหน่ายให้กับประชาชน จึงเป็นทรัพย์สินของทางราชการทหาร
ผู้ใดครอบครอง กระสุนท้้งนัด หรือแม้เพียงปลอกกระสุน ก็อาจจะมีความผิด
ฐานลักทรัพย์ของทางราชการ หรือรับของโจร
นอกจากกระสุนขนาดข้างต้น และยังมีกระสุนต้องห่ามครอบครอง คือกระสุนเพลิง(ไม่ทราบว่ามีลักษณะอย่างใด แต่กระสุนส่องวิถีไม่ใช่กระสุนเพลิง) และกระสุนเจาะเกราะ (มีลักษณะเฉพาะ หัวกระสุนทาสีดำไส้แกนกลาง เป็นโลหะทังสเตน ที่แข็งกว่าเหล็ก) เท่าที่ทราบจะมีแต่ขนาด 7 มม.ขึ้นไป และใช้ในบางหน่วยทหารเท่านั้น
กระสุนเจาะเกราะ น่าจะหมายเกราะทางการทหาร ที่กรุให้กับรถเกราะกันกระสุน รถถัง ไม่ใช่เกราะอ่อน ที่ทนหัวกระสุน ไรเฟิล .223 และ .308 ได้ในระดับต้น ๆ ได้เท่านั้น
ทั้งกระสุนเพลิง กระสุนเจาะเกราะ จักต้องใช้ผู้ชำนาญการด้านกระสุน จากกองทัพบกไทย มายืนยันเป็นพยานในการพิจารณาคดี ไม่ใช่เจ้าพนักงานตำรวจ เพราะไม่ใช่ผู้มีอำนาจใช้กระสุน ทั้ง 2 ชนิดนี้ ถ้าไม่มีพยานของกองทัพบกไทย และจำเลยยืนยันให้การปฎิเสธ อาจจะเกิดข้อสงสัยในข้อเท็จจริงที่ได้จากการพิจารณา ว่าโจทก์นำสืบไม่ได้ตามคำฟ้อง ศาลอาจต้องยกประโยชน์ในข้อสงสัยนี้ให้กับจำเลย ครับ.
ผมก็เข้าใจอย่างที่พี่[email protected] ได้กล่าวไว้
กรณีปืน ที่เราครอบครอง ป4 ระบุ ไว้เฉพาะแค่ขนาด .223 มันจะเพิ่มความยุ่งยากขึ้นมากไหมครับ
ในการนำสืบให้ในชั้นศาล ให้เชื่อได้ว่า ลูกกระสุน 5.56 ใช้ยิงในปืนขนาด
.223 ที่เราครอบครองได้อย่างปลอดภัย / หรือว่า เรา ควรจะครอบครอง ปืนที่ใน ป4 ระบุ ทั้งสองขนาดเช่น .223 (5.56) ตอนนี้น่าจเปลี่ยนเป็น 5.56NATO/.223
จะดีกว่่าใช่ไหมครับ
หมายเหตุ
1. ปกติแรงดันในรังเพลิง ของ 5.56 จะมากกว่า .223 อยู่แล้ว แต่ หากเราเอากระสุน 5.56 ใช้ยิงในรังเพลิง .223 แรงดันในรังเพลิงจะเพิ่มมากขึ้นไปอีกเพราะว่า free bore ในรังเพลิง.223 น้อยกว่า 5.56 เกือบครึ่ง ยิงมากๆบ่อย อาจทำให้ปืนติดท้ายรั่ว ตัวรัดขอรั้งปลอกขาด แต่ไม่ทำให้ถึงขั้น ปืนแตกเพราะ มี safety factor อยู่ครับ
2. ในทางตรงกันข้าม หากเราเอาลูก .223 มายิงในรังเพลิง 5.56 ไม่มีปัญหา แต่บางคนอาจบอกว่าความแม่นยำเสียไปบ้าง เนื่องจาก รังเพลิง5.56 มีช่วง free bore ที่มากกว่า
ขอบคุณครับ
- [email protected]
- โพสต์: 102
- ลงทะเบียนเมื่อ: พฤหัสฯ. เม.ย. 23, 2020 9:32 pm
- ที่อยู่: สมุทรปราการ
Re: ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
Yoshiki_Silencer เขียน: ↑เสาร์ พ.ค. 09, 2020 6:05 pmรบกวนสอบถามความเห็นของพี่ [email protected] และสมาชิกท่านอื่นหน่อยครับ เมื่อก่อนกรณีมีกระสุน 5.56 พิสูจน์หลักฐานมักจะรายงานผลตรวจมาสั้นๆ ว่าเป็นกระสุนปืนกลที่ไม่สามารถออกใบอนุญาตให้ได้ โดยไม่ได้ระบุมาให้ชัดเจนว่าเป็นกระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิง ทำให้ต้องสั่งให้ตรวจสอบเพิ่มเติมทุกครั้งซึ่งก็ต้องตอบมาว่าไม่ใช่กระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิง (แน่นอนอยู่แล้ว) ทำให้อัยการต้องสั่งไม่ฟ้องหรือศาลพิพากษายกฟ้องข้อหามีกระสุนปืนที่นายทะเบียนออกใบอนุญาตให้ไม่ได้ ซึ่งเป็นไปตามแนวฎีกาที่เคยตัดสินไว้ก่อนหน้านี้ที่ว่าแม้จะเป็นกระสุนปืนกลแต่เมื่อไม่ใช่กระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิงก็ไม่ใช่กระสุนที่นายทะเบียนไม่สามารถออกใบอนุญาตให้ได้ (สรุปคือถือว่าเป็นกระสุนธรรมดานั่นเอง)[email protected] เขียน: ↑พฤหัสฯ. พ.ค. 07, 2020 12:02 pmกระทู้นี้ หมายถึ่ง คอปืนที่ มีป.4 ระบุให้ครอบครอง อาาุธปืนเดี่ยวไรเฟิล ขนาด .223 นิ้ว/5.56 มม.Mojo_Powered เขียน: ↑พุธ พ.ค. 06, 2020 12:23 pmสมมุติ .308/7.62 มีระบุในป.4แล้ว แล้วมี7.62ในครอบครอง ถือเป็นยุทธภัณฑ์ปะครับ
และ ป.4 เดี่ยวไรเฟิล ขนาด .308 นิ้ว/7.62 นาโต้
RTA. Royal Thai Army. กระสุน ที่มีอักษร RTA. ป็นกระสุนที่ใช้ในราชการทหารไทย
ไม่ได้ขายหรือจำหน่ายให้กับประชาชน จึงเป็นทรัพย์สินของทางราชการทหาร
ผู้ใดครอบครอง กระสุนท้้งนัด หรือแม้เพียงปลอกกระสุน ก็อาจจะมีความผิด
ฐานลักทรัพย์ของทางราชการ หรือรับของโจร
นอกจากกระสุนขนาดข้างต้น และยังมีกระสุนต้องห่ามครอบครอง คือกระสุนเพลิง(ไม่ทราบว่ามีลักษณะอย่างใด แต่กระสุนส่องวิถีไม่ใช่กระสุนเพลิง) และกระสุนเจาะเกราะ (มีลักษณะเฉพาะ หัวกระสุนทาสีดำไส้แกนกลาง เป็นโลหะทังสเตน ที่แข็งกว่าเหล็ก) เท่าที่ทราบจะมีแต่ขนาด 7 มม.ขึ้นไป และใช้ในบางหน่วยทหารเท่านั้น
กระสุนเจาะเกราะ น่าจะหมายเกราะทางการทหาร ที่กรุให้กับรถเกราะกันกระสุน รถถัง ไม่ใช่เกราะอ่อน ที่ทนหัวกระสุน ไรเฟิล .223 และ .308 ได้ในระดับต้น ๆ ได้เท่านั้น
ทั้งกระสุนเพลิง กระสุนเจาะเกราะ จักต้องใช้ผู้ชำนาญการด้านกระสุน จากกองทัพบกไทย มายืนยันเป็นพยานในการพิจารณาคดี ไม่ใช่เจ้าพนักงานตำรวจ เพราะไม่ใช่ผู้มีอำนาจใช้กระสุน ทั้ง 2 ชนิดนี้ ถ้าไม่มีพยานของกองทัพบกไทย และจำเลยยืนยันให้การปฎิเสธ อาจจะเกิดข้อสงสัยในข้อเท็จจริงที่ได้จากการพิจารณา ว่าโจทก์นำสืบไม่ได้ตามคำฟ้อง ศาลอาจต้องยกประโยชน์ในข้อสงสัยนี้ให้กับจำเลย ครับ.
แต่มาในช่วงหลัง (น่าจะจากกรณีปัญหาที่ศาลวินิจฉัยไม่ใช่กระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ดังกล่าวข้างต้น) ทางพิสูจน์หลักฐานเลยแก้ลำด้วยการระบุ
มาในผลตรวจพิสูจน์เลยว่าไม่ใช่กระสุนเพลิงหรือกระสุนเจาะเกราะแต่เป็นกระสุนปืนกลตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 จึงเป็นกระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้
ได้เช่นกัน โดยทางพิสูจน์หลักฐานระบุมาในรายงานผลตรวจพิสูจน์ว่ากระสุน 5.56 ( ไม่ใช่กระสุน .223 ) เป็นกระสุนที่ผลิตมาเพื่อใช้กับปืนกลโดยเฉพาะ ( กรณีที่เป็นปัญหาอาจจะเพราะกระสุนปืนของกลางตีตรา RTA ด้วย ) แต่โดยส่วนตัวผมเห็นว่าไม่น่าจะถูกต้องเพราะกระสุนเมื่อผลิตออกมาแล้วก็ใช้ยิงได้กับทั้งปืนกลและปืนธรรมดา และปืนไรเฟิลระบบลูกเลื่อนบางกระบอกก็สามารถใช้ยิงได้ทั้งลูก 5.56 และ .223 หรือกระทั่งปืนขนาด .223 เองก็สามารถยิงลูก 5.56 ได้ (แม้จะไม่ค่อยดีกับปืนเท่าไหร่)ซึ่งโดยส่วนตัวของผมเห็นว่าการตีความแบบนี้เป็นการตีความในสิ่งที่ยังไม่ชัดเจนให้เป็นโทษกับผู้ต้องหา ทำให้น่าคิดว่าในอนาคตหากเป็นการครอบครองกระสุน
5.56 ที่ไม่ใช่กระสุนที่ตีตรา RTA ซึ่งกระสุนขนาดนี้ไม่ใช่กระสุนต้องห้ามตามกฎกระทรวงฉบับที่ 11 และตัวผู้ครอบครองกระสุนเองมีปืนไรเฟิลลูกเลื่อนขนาด .223
จะเป็นความผิดฐานมีกระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกไปใบอนุญาตได้หรือไม่
กรณีการครอบครองกระสุนที่ตีตรา RTA ยังไงก็เป็นความผิดฐานอื่นต่างหากอยู่ก็ต้องว่ากันต่างหากต่อไป
ไม่ทราบว่าพี่ [email protected] และสมาชิกท่านอื่นมีความคิดเห็นอย่างไรบ้างครับ
ข้อเท็จจริง ที่ได้จากการพิจารณาในศาล จะมาจากเอกสาร และมีพยานบุคคลที่เกี่ยวข้องเบิกความรับรอง และจากคำเบิกความของพยานบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ทั้งหมดเป็นความสามารถของทนายความจำเลยที่ต้องเตรียมคำซักค้านให้ดี จึงควรหาทนายความที่สนใจเรื่องปืน และรู้เรื่องปืน มาทำหน้าที่ เป็นดี ครับ
หลายคดี อาจเพราะทนายจำเลยซักค้านไม่แตก(เพราะไม่เข้าใจหรือไม่ทราบข้อเท็จจริง) ศาลก็ต้องพิจารณาจากพยานโจทก์ที่นำสืบแล้วลงโทษจำเลย
และปัจจุบัน ป.๔ ทั้ง ๒ ขนาด จากวังไชยา จะระบุ .223 นิ้ว/5.56 มม. และ .308 นิ้ว/7.65 นาโต้ ประเด็นจึงชัดเจนว่า Rifle
ทั้ง ๒ ขนาด ยิงกระสุนตามที่นายทะเบียนระบุไว้ได้โดยปลอดภัย ถึงแม้ว่าในรายละเอียดของกระสุน อาจมีข้อแตกต่างกันบ้าง
.......................
สาระในคดี จึงอยู่ที่ ๑.เป็นกระสุนในราชการทหารไทย หรือไม่ และ
๒.กระสุนปืนของกลาง เป็นกระสุนเพลิง หรือ กระสุนเจาะเกราะหรือไม่ ทนายจำเลยจึงต้องซักค้านผู้พิสูจน์และทำรายงานการตรวจพิสูจน์ให้แตก (ผมจะไม่ขอให้รายละเอียดมากกว่านี้ บัดเดี๋ยว จนท.จะมาปิดทางซะ)
และซักค้าน นิติกร จาก สำนักงานทะเบียนปืนฯ ให้ยืนยัน ป.๔ ว่า นายทะเบียนฯ เป็นผู้ออกเอกสารอย่างถูกต้องตามหน้าที่
ในประเด็นเรื่องกระสุน ทั้ง ๒ ขนาด ฝ่ายทหารจะทราบข้อเท็จจริงมากกว่าตำรวจ แต่ฝ่ายตำรวจมีหน้าที่ในการรวบรวมหลักฐานทำสำนวนและทำความเห็นให้ พนักงานอัยการ สั่งฟ้องหรือไม่ ถ้าฟ้อง ศาลจะเป็นผู้วินิจฉัยจากข้อเท็จจริงที่ได้จากการพิจารณา
ในคดี ด้วยการนำสืบของฝ่ายโจทก์ฝ่ายจำเลย ..
นี่เป็นงานในกระบวนการยุติธรรม ของวิชาชีพกฎหมาย ได้แก่ ศาล พนักงานอัยการ และทนายความ จึงจะเข้าใจ ครับ.

"[email protected]รักในหลวง"
ซึ่งวิถี "๑ คัน ๑ ชีวิตที่อิสระ มี .๔๐ และกาแฟอีก ๑ เป็นเพื่อน"
"ชีวิตที่สันโดษ สงบ เรียบง่าย ย่อมมีความสุขเสมอ"
ซึ่งวิถี "๑ คัน ๑ ชีวิตที่อิสระ มี .๔๐ และกาแฟอีก ๑ เป็นเพื่อน"
"ชีวิตที่สันโดษ สงบ เรียบง่าย ย่อมมีความสุขเสมอ"
-
- โพสต์: 39
- ลงทะเบียนเมื่อ: เสาร์ เม.ย. 18, 2020 9:38 pm
Re: ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
เท่าที่ทราบ ณ ปัจจุบัน (เดือน 5 ปี 2020) ขนาด .308(7.62) หรือ ขนาด .223(5.56) ได้ถูกเอาออกไปจากระบบแล้วครับ[email protected] เขียน: ↑อังคาร พ.ค. 12, 2020 11:30 amYoshiki_Silencer เขียน: ↑เสาร์ พ.ค. 09, 2020 6:05 pmรบกวนสอบถามความเห็นของพี่ [email protected] และสมาชิกท่านอื่นหน่อยครับ เมื่อก่อนกรณีมีกระสุน 5.56 พิสูจน์หลักฐานมักจะรายงานผลตรวจมาสั้นๆ ว่าเป็นกระสุนปืนกลที่ไม่สามารถออกใบอนุญาตให้ได้ โดยไม่ได้ระบุมาให้ชัดเจนว่าเป็นกระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิง ทำให้ต้องสั่งให้ตรวจสอบเพิ่มเติมทุกครั้งซึ่งก็ต้องตอบมาว่าไม่ใช่กระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิง (แน่นอนอยู่แล้ว) ทำให้อัยการต้องสั่งไม่ฟ้องหรือศาลพิพากษายกฟ้องข้อหามีกระสุนปืนที่นายทะเบียนออกใบอนุญาตให้ไม่ได้ ซึ่งเป็นไปตามแนวฎีกาที่เคยตัดสินไว้ก่อนหน้านี้ที่ว่าแม้จะเป็นกระสุนปืนกลแต่เมื่อไม่ใช่กระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิงก็ไม่ใช่กระสุนที่นายทะเบียนไม่สามารถออกใบอนุญาตให้ได้ (สรุปคือถือว่าเป็นกระสุนธรรมดานั่นเอง)[email protected] เขียน: ↑พฤหัสฯ. พ.ค. 07, 2020 12:02 pm
กระทู้นี้ หมายถึ่ง คอปืนที่ มีป.4 ระบุให้ครอบครอง อาาุธปืนเดี่ยวไรเฟิล ขนาด .223 นิ้ว/5.56 มม.
และ ป.4 เดี่ยวไรเฟิล ขนาด .308 นิ้ว/7.62 นาโต้
RTA. Royal Thai Army. กระสุน ที่มีอักษร RTA. ป็นกระสุนที่ใช้ในราชการทหารไทย
ไม่ได้ขายหรือจำหน่ายให้กับประชาชน จึงเป็นทรัพย์สินของทางราชการทหาร
ผู้ใดครอบครอง กระสุนท้้งนัด หรือแม้เพียงปลอกกระสุน ก็อาจจะมีความผิด
ฐานลักทรัพย์ของทางราชการ หรือรับของโจร
นอกจากกระสุนขนาดข้างต้น และยังมีกระสุนต้องห่ามครอบครอง คือกระสุนเพลิง(ไม่ทราบว่ามีลักษณะอย่างใด แต่กระสุนส่องวิถีไม่ใช่กระสุนเพลิง) และกระสุนเจาะเกราะ (มีลักษณะเฉพาะ หัวกระสุนทาสีดำไส้แกนกลาง เป็นโลหะทังสเตน ที่แข็งกว่าเหล็ก) เท่าที่ทราบจะมีแต่ขนาด 7 มม.ขึ้นไป และใช้ในบางหน่วยทหารเท่านั้น
กระสุนเจาะเกราะ น่าจะหมายเกราะทางการทหาร ที่กรุให้กับรถเกราะกันกระสุน รถถัง ไม่ใช่เกราะอ่อน ที่ทนหัวกระสุน ไรเฟิล .223 และ .308 ได้ในระดับต้น ๆ ได้เท่านั้น
ทั้งกระสุนเพลิง กระสุนเจาะเกราะ จักต้องใช้ผู้ชำนาญการด้านกระสุน จากกองทัพบกไทย มายืนยันเป็นพยานในการพิจารณาคดี ไม่ใช่เจ้าพนักงานตำรวจ เพราะไม่ใช่ผู้มีอำนาจใช้กระสุน ทั้ง 2 ชนิดนี้ ถ้าไม่มีพยานของกองทัพบกไทย และจำเลยยืนยันให้การปฎิเสธ อาจจะเกิดข้อสงสัยในข้อเท็จจริงที่ได้จากการพิจารณา ว่าโจทก์นำสืบไม่ได้ตามคำฟ้อง ศาลอาจต้องยกประโยชน์ในข้อสงสัยนี้ให้กับจำเลย ครับ.
แต่มาในช่วงหลัง (น่าจะจากกรณีปัญหาที่ศาลวินิจฉัยไม่ใช่กระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ดังกล่าวข้างต้น) ทางพิสูจน์หลักฐานเลยแก้ลำด้วยการระบุ
มาในผลตรวจพิสูจน์เลยว่าไม่ใช่กระสุนเพลิงหรือกระสุนเจาะเกราะแต่เป็นกระสุนปืนกลตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 จึงเป็นกระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้
ได้เช่นกัน โดยทางพิสูจน์หลักฐานระบุมาในรายงานผลตรวจพิสูจน์ว่ากระสุน 5.56 ( ไม่ใช่กระสุน .223 ) เป็นกระสุนที่ผลิตมาเพื่อใช้กับปืนกลโดยเฉพาะ ( กรณีที่เป็นปัญหาอาจจะเพราะกระสุนปืนของกลางตีตรา RTA ด้วย ) แต่โดยส่วนตัวผมเห็นว่าไม่น่าจะถูกต้องเพราะกระสุนเมื่อผลิตออกมาแล้วก็ใช้ยิงได้กับทั้งปืนกลและปืนธรรมดา และปืนไรเฟิลระบบลูกเลื่อนบางกระบอกก็สามารถใช้ยิงได้ทั้งลูก 5.56 และ .223 หรือกระทั่งปืนขนาด .223 เองก็สามารถยิงลูก 5.56 ได้ (แม้จะไม่ค่อยดีกับปืนเท่าไหร่)ซึ่งโดยส่วนตัวของผมเห็นว่าการตีความแบบนี้เป็นการตีความในสิ่งที่ยังไม่ชัดเจนให้เป็นโทษกับผู้ต้องหา ทำให้น่าคิดว่าในอนาคตหากเป็นการครอบครองกระสุน
5.56 ที่ไม่ใช่กระสุนที่ตีตรา RTA ซึ่งกระสุนขนาดนี้ไม่ใช่กระสุนต้องห้ามตามกฎกระทรวงฉบับที่ 11 และตัวผู้ครอบครองกระสุนเองมีปืนไรเฟิลลูกเลื่อนขนาด .223
จะเป็นความผิดฐานมีกระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกไปใบอนุญาตได้หรือไม่
กรณีการครอบครองกระสุนที่ตีตรา RTA ยังไงก็เป็นความผิดฐานอื่นต่างหากอยู่ก็ต้องว่ากันต่างหากต่อไป
ไม่ทราบว่าพี่ [email protected] และสมาชิกท่านอื่นมีความคิดเห็นอย่างไรบ้างครับ
ข้อเท็จจริง ที่ได้จากการพิจารณาในศาล จะมาจากเอกสาร และมีพยานบุคคลที่เกี่ยวข้องเบิกความรับรอง และจากคำเบิกความของพยานบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ทั้งหมดเป็นความสามารถของทนายความจำเลยที่ต้องเตรียมคำซักค้านให้ดี จึงควรหาทนายความที่สนใจเรื่องปืน และรู้เรื่องปืน มาทำหน้าที่ เป็นดี ครับ
หลายคดี อาจเพราะทนายจำเลยซักค้านไม่แตก(เพราะไม่เข้าใจหรือไม่ทราบข้อเท็จจริง) ศาลก็ต้องพิจารณาจากพยานโจทก์ที่นำสืบแล้วลงโทษจำเลย
และปัจจุบัน ป.๔ ทั้ง ๒ ขนาด จากวังไชยา จะระบุ .223 นิ้ว/5.56 มม. และ .308 นิ้ว/7.65 นาโต้ ประเด็นจึงชัดเจนว่า Rifle
ทั้ง ๒ ขนาด ยิงกระสุนตามที่นายทะเบียนระบุไว้ได้โดยปลอดภัย ถึงแม้ว่าในรายละเอียดของกระสุน อาจมีข้อแตกต่างกันบ้าง
.......................
สาระในคดี จึงอยู่ที่ ๑.เป็นกระสุนในราชการทหารไทย หรือไม่ และ
๒.กระสุนปืนของกลาง เป็นกระสุนเพลิง หรือ กระสุนเจาะเกราะหรือไม่ ทนายจำเลยจึงต้องซักค้านผู้พิสูจน์และทำรายงานการตรวจพิสูจน์ให้แตก (ผมจะไม่ขอให้รายละเอียดมากกว่านี้ บัดเดี๋ยว จนท.จะมาปิดทางซะ)
และซักค้าน นิติกร จาก สำนักงานทะเบียนปืนฯ ให้ยืนยัน ป.๔ ว่า นายทะเบียนฯ เป็นผู้ออกเอกสารอย่างถูกต้องตามหน้าที่
ในประเด็นเรื่องกระสุน ทั้ง ๒ ขนาด ฝ่ายทหารจะทราบข้อเท็จจริงมากกว่าตำรวจ แต่ฝ่ายตำรวจมีหน้าที่ในการรวบรวมหลักฐานทำสำนวนและทำความเห็นให้ พนักงานอัยการ สั่งฟ้องหรือไม่ ถ้าฟ้อง ศาลจะเป็นผู้วินิจฉัยจากข้อเท็จจริงที่ได้จากการพิจารณา
ในคดี ด้วยการนำสืบของฝ่ายโจทก์ฝ่ายจำเลย ..
นี่เป็นงานในกระบวนการยุติธรรม ของวิชาชีพกฎหมาย ได้แก่ ศาล พนักงานอัยการ และทนายความ จึงจะเข้าใจ ครับ.![]()
ทำให้ ป.4 ที่ออกต่อจากนี้ จะไม่มีวงเล็บแล้ว และจะระบุตามที่ตีบนลำกล้องปืนเลยคือ .308 หรือ .223 หรือ 5.56 หรือ 7.62 อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ไม่มีการเขียนวงเล็บไว้อีก
- EspanolSD
- โพสต์: 119
- ลงทะเบียนเมื่อ: พฤหัสฯ. เม.ย. 16, 2020 2:19 pm
Re: ปืน 223/308 ใช้ลูกทหารยิงหรือครอบครอง ผิดกม.ปะครับ
ตาม บันทึกข้อความ ศบปช. (ฝ.ตป.) ที่ มท ๐๓๐๗.๘(๕) เรื่อง การกำหนดขนาดอาวุธปืนเดี่ยวไรเฟิ่ล เรียน ผอ.สรร.๑/หน.ง.กง.พสร เมษายน ๒๕๖๓kosmos เขียน: ↑อังคาร พ.ค. 12, 2020 4:40 pmเท่าที่ทราบ ณ ปัจจุบัน (เดือน 5 ปี 2020) ขนาด .308(7.62) หรือ ขนาด .223(5.56) ได้ถูกเอาออกไปจากระบบแล้วครับ[email protected] เขียน: ↑อังคาร พ.ค. 12, 2020 11:30 amYoshiki_Silencer เขียน: ↑เสาร์ พ.ค. 09, 2020 6:05 pm
รบกวนสอบถามความเห็นของพี่ [email protected] และสมาชิกท่านอื่นหน่อยครับ เมื่อก่อนกรณีมีกระสุน 5.56 พิสูจน์หลักฐานมักจะรายงานผลตรวจมาสั้นๆ ว่าเป็นกระสุนปืนกลที่ไม่สามารถออกใบอนุญาตให้ได้ โดยไม่ได้ระบุมาให้ชัดเจนว่าเป็นกระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิง ทำให้ต้องสั่งให้ตรวจสอบเพิ่มเติมทุกครั้งซึ่งก็ต้องตอบมาว่าไม่ใช่กระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิง (แน่นอนอยู่แล้ว) ทำให้อัยการต้องสั่งไม่ฟ้องหรือศาลพิพากษายกฟ้องข้อหามีกระสุนปืนที่นายทะเบียนออกใบอนุญาตให้ไม่ได้ ซึ่งเป็นไปตามแนวฎีกาที่เคยตัดสินไว้ก่อนหน้านี้ที่ว่าแม้จะเป็นกระสุนปืนกลแต่เมื่อไม่ใช่กระสุนเจาะเกราะหรือกระสุนเพลิงก็ไม่ใช่กระสุนที่นายทะเบียนไม่สามารถออกใบอนุญาตให้ได้ (สรุปคือถือว่าเป็นกระสุนธรรมดานั่นเอง)
แต่มาในช่วงหลัง (น่าจะจากกรณีปัญหาที่ศาลวินิจฉัยไม่ใช่กระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้ได้ดังกล่าวข้างต้น) ทางพิสูจน์หลักฐานเลยแก้ลำด้วยการระบุ
มาในผลตรวจพิสูจน์เลยว่าไม่ใช่กระสุนเพลิงหรือกระสุนเจาะเกราะแต่เป็นกระสุนปืนกลตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 จึงเป็นกระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกใบอนุญาตให้
ได้เช่นกัน โดยทางพิสูจน์หลักฐานระบุมาในรายงานผลตรวจพิสูจน์ว่ากระสุน 5.56 ( ไม่ใช่กระสุน .223 ) เป็นกระสุนที่ผลิตมาเพื่อใช้กับปืนกลโดยเฉพาะ ( กรณีที่เป็นปัญหาอาจจะเพราะกระสุนปืนของกลางตีตรา RTA ด้วย ) แต่โดยส่วนตัวผมเห็นว่าไม่น่าจะถูกต้องเพราะกระสุนเมื่อผลิตออกมาแล้วก็ใช้ยิงได้กับทั้งปืนกลและปืนธรรมดา และปืนไรเฟิลระบบลูกเลื่อนบางกระบอกก็สามารถใช้ยิงได้ทั้งลูก 5.56 และ .223 หรือกระทั่งปืนขนาด .223 เองก็สามารถยิงลูก 5.56 ได้ (แม้จะไม่ค่อยดีกับปืนเท่าไหร่)ซึ่งโดยส่วนตัวของผมเห็นว่าการตีความแบบนี้เป็นการตีความในสิ่งที่ยังไม่ชัดเจนให้เป็นโทษกับผู้ต้องหา ทำให้น่าคิดว่าในอนาคตหากเป็นการครอบครองกระสุน
5.56 ที่ไม่ใช่กระสุนที่ตีตรา RTA ซึ่งกระสุนขนาดนี้ไม่ใช่กระสุนต้องห้ามตามกฎกระทรวงฉบับที่ 11 และตัวผู้ครอบครองกระสุนเองมีปืนไรเฟิลลูกเลื่อนขนาด .223
จะเป็นความผิดฐานมีกระสุนที่นายทะเบียนไม่อาจออกไปใบอนุญาตได้หรือไม่
กรณีการครอบครองกระสุนที่ตีตรา RTA ยังไงก็เป็นความผิดฐานอื่นต่างหากอยู่ก็ต้องว่ากันต่างหากต่อไป
ไม่ทราบว่าพี่ [email protected] และสมาชิกท่านอื่นมีความคิดเห็นอย่างไรบ้างครับ
ข้อเท็จจริง ที่ได้จากการพิจารณาในศาล จะมาจากเอกสาร และมีพยานบุคคลที่เกี่ยวข้องเบิกความรับรอง และจากคำเบิกความของพยานบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ทั้งหมดเป็นความสามารถของทนายความจำเลยที่ต้องเตรียมคำซักค้านให้ดี จึงควรหาทนายความที่สนใจเรื่องปืน และรู้เรื่องปืน มาทำหน้าที่ เป็นดี ครับ
หลายคดี อาจเพราะทนายจำเลยซักค้านไม่แตก(เพราะไม่เข้าใจหรือไม่ทราบข้อเท็จจริง) ศาลก็ต้องพิจารณาจากพยานโจทก์ที่นำสืบแล้วลงโทษจำเลย
และปัจจุบัน ป.๔ ทั้ง ๒ ขนาด จากวังไชยา จะระบุ .223 นิ้ว/5.56 มม. และ .308 นิ้ว/7.65 นาโต้ ประเด็นจึงชัดเจนว่า Rifle
ทั้ง ๒ ขนาด ยิงกระสุนตามที่นายทะเบียนระบุไว้ได้โดยปลอดภัย ถึงแม้ว่าในรายละเอียดของกระสุน อาจมีข้อแตกต่างกันบ้าง
.......................
สาระในคดี จึงอยู่ที่ ๑.เป็นกระสุนในราชการทหารไทย หรือไม่ และ
๒.กระสุนปืนของกลาง เป็นกระสุนเพลิง หรือ กระสุนเจาะเกราะหรือไม่ ทนายจำเลยจึงต้องซักค้านผู้พิสูจน์และทำรายงานการตรวจพิสูจน์ให้แตก (ผมจะไม่ขอให้รายละเอียดมากกว่านี้ บัดเดี๋ยว จนท.จะมาปิดทางซะ)
และซักค้าน นิติกร จาก สำนักงานทะเบียนปืนฯ ให้ยืนยัน ป.๔ ว่า นายทะเบียนฯ เป็นผู้ออกเอกสารอย่างถูกต้องตามหน้าที่
ในประเด็นเรื่องกระสุน ทั้ง ๒ ขนาด ฝ่ายทหารจะทราบข้อเท็จจริงมากกว่าตำรวจ แต่ฝ่ายตำรวจมีหน้าที่ในการรวบรวมหลักฐานทำสำนวนและทำความเห็นให้ พนักงานอัยการ สั่งฟ้องหรือไม่ ถ้าฟ้อง ศาลจะเป็นผู้วินิจฉัยจากข้อเท็จจริงที่ได้จากการพิจารณา
ในคดี ด้วยการนำสืบของฝ่ายโจทก์ฝ่ายจำเลย ..
นี่เป็นงานในกระบวนการยุติธรรม ของวิชาชีพกฎหมาย ได้แก่ ศาล พนักงานอัยการ และทนายความ จึงจะเข้าใจ ครับ.![]()
ทำให้ ป.4 ที่ออกต่อจากนี้ จะไม่มีวงเล็บแล้ว และจะระบุตามที่ตีบนลำกล้องปืนเลยคือ .308 หรือ .223 หรือ 5.56 หรือ 7.62 อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ไม่มีการเขียนวงเล็บไว้อีก
...
๑.อาวุธปืนชนิดเดี่ยวไรเฟิ่ล ขนาด .๒๒๓ และ/หรือขนาด ๕.๕๖ ให้บันทึกข้อมูลโดยระบุขนาดอาวุธปืนตามที่ปรากฎที่อาวุธปืน ดังต่อไปนี้
๑.๑ .๒๒๓
๑.๒ ๕.๕๖ NATO
๑.๓ ๕.๕๖ NATO/.๒๒๓
๒.อาวุธปืนชนิดเดี่ยวไรเฟิ่ล ขนาด .๓๐๘ และ/หรือขนาด ๗.๖๒ ให้บันทึกข้อมูลโดยระบุขนาดอาวุธปืนตามที่ปรากฎที่อาวุธปืน ดังต่อไปนี้
๒.๑ .๓๐๘
๒.๒ ๗.๖๒ NATO
๒.๓ ๗.๖๒ NATO/.๓๐๘
...
หากมีระบุบนอาวุธปืนว่ายิงได้ 2 ขนาด ก็ลงบันทึกตามข้อ ๑.๓ หรือ ๒.๓ ได้ครับ